อัญมณีเกิดขึ้นได้อย่างไร ???
???
อัญมณี หรือที่เรียกว่ารัตนชาตินั้น คือ หินแร่ที่มีค่าสูงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอาจจะเป็นแก้วผลึก เช่น เพชร ทับทิม ไพลิน มรกต ตลอดจนถึงหินปะการังบางชนิดและไข่มุกด้วย คุณลักษณะที่ทำให้รัตนชาติมีค่า ขึ้นอยู่กับความสวยงาม ความแข็ง และความคงทนถาวร หายาก อยู่ในความนิยมตามกาลสมัย ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นตลาดอัญมณีอันดับ 1 ใน 6 ของโลก จึงนับได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญไม่แพ้แร่อื่นๆ เพชรพลอยเป็นแร่รัตน ชาติ การค้นหาจึงต้องมีการศึกษาถึงกำเนิดความเป็นมาของเพชรและพลอยแต่ละชนิดว่า เกิดกับหินชนิดหรือประเภทใด หรืออาจกล่าวว่าหินชนิดใด จะเป็นต้นกำเนิดเพชรหรือพลอยเหล่านั้น ในสมัยโบราณอาจเป็นการพบเพชรพลอยก่อนแล้ว มีการศึกษาค้นคว้าวิจัยถึงแหล่ง เพชร พลอยเหล่านั้น มีการบันทึกข้อมูลไว้ซึ่งได้เป็นประโยชน์ในสมัยต่อมา โดยใช้เป็นเครื่องชี้นำหรือเป็นแนวทางในการสำรวจค้นหาแหล่งใหม่ต่อไป เพื่อให้ได้อัญมณีมาเสนอต่อผู้ใช้ซึ่งมีเพิ่มมากขึ้นโดยตลอด การศึกษาทาง วิชาการอัญมณี ตลอดจนการสำรวจค้นคว้าวิจัยทำให้ได้พบแร่รัตนชาติที่มีคุณสมบัติเป็นอัญมณี เพิ่มมากขึ้นอีกมากมายหลายชนิด รวมทั้งหินที่มีลักษณะแปลกเด่น เมื่อนำมาตกแต่งด้วยวิธีการและเทคนิคต่างๆ ด้วยการเจียระไนเป็นหน้าเหลี่ยม หลังเบี้ย รูปกลมหรือรูปไข่ ถ้าเป็นหินเนื้อสวยอาจใช้วิธีการขัดมันแล้วจึงนำไปประกอบกับทองคำ หรือทองคำขาว ทำเป็นเครื่องประดับ เช่น สร้อย เข็มกลัด แหวน หรือนำไปตกแต่งเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า และของใช้อื่นๆ อัญมณีอย่างเพชร และทับทิมมีเพียงไม่กี่ชิ้นในโลก ที่เป็นของแท้ตามธรรมชาติและมีขนาดใหญ่มากๆ นอกนั้นส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก และปานกลาง เนื่องจากแร่รัตนชาติมีคุณสมบัติในเรื่องความแข็งทนทาน เมื่อเกิดมากับหินต้นกำเนิด แล้วต่อมาหินผุผังไป แร่รัตนชาติก็จะหลุดออกและถูกน้ำพัดพาไปสะสมในที่ๆ เรียกว่า ลานแร่(placer) การหาแร่รัตนชาติโดยเฉพาะพวกเพชร พลอย ทับทิม และไพลิน จึงใช้วิธีขุดเป็นบ่อลงไป แล้วนำที่ขุดได้ขึ้นมาร่อนหาเพชร พลอย เมื่อพบแล้วก็ยังถือว่าเป็นเพชรดิบ พลอยดิบ ต้องนำมาตกแต่งเจียระไนเป็นรูปแบบต่างๆ ตามลักษณะที่เหมาะสมของอัญมณีนั้น มลทิน ในแร่ทำให้แร่มีสีต่างๆ กัน แร่คอรันดัมบริสุทธิ์เป็นสารพวกอลูมิเนียมออกไซด์ มีสีขาว ถ้ามีมลทินจำพวกโครเมียมผสม ทำให้มีสีแดง เช่นทับทิม เหล็ก ไทเทเนียม ทำให้มีสีน้ำเงิน ซึ่งทับทิมกับไพลิน เป็นแร่คอรันดัมเหมือนกัน ต่มีมลทินต่างชนิดกัน อย่างไรก็ตาม ความนิยมของผู้ใช้ทั่วโลกยังคงต้องการใช้อัญมณีที่เป็นแร่รัตนชาติมีอยู่มาก แต่ไม่อาจสู้กับราคาที่สูงลิ่วตามความงามของรัตนชาติอัญมณีนั้นๆ ได้ ทำให้เกิดมีการค้นคว้าวิจัยทำการสังเคราะห์อัญมณีขึ้นมาให้เหมือนแร่รัตน ชาตินั้นๆ บ้าง โดยใช้วัตถุอื่นทำเทียมบ้าง มากมายหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถสังเคราะห์เลียนแบบการเกิดของมลทินในแร่รัตนชาติเหล่านั้น ซึ่งมลทินที่อยู่ภายในนี้เอง ทำให้แร่รัตนชาติเหล่านั้นมีสีต่างๆ กันไป มีความแข็งแรง สามารถเจียระไนให้เกิดมุม เพื่อให้เกิดการกระจายแสงเห็นความแวววาว เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินอัญมณีต่างกันอย่างไร ได้แก่ ความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเหของแสง ดัชนีหักเหของแสงเป็นค่าคงที่ของอัญมณีแต่ละชนิด จึงใช้ตัดสินว่าเป็นของปลอมหรือไม่ ความแข็งของแร่ก็มีผลต่อราคาของอัญมณีด้วย จึงนำมาทดสอบโดยการขูดขีดกันหรืออาจใช้ตะไบมือ เหรียญทองแดง มีดพับ กระจกทดสอบได้ แร่ที่มีรอยขูดขีดจะอ่อนกว่า ซึ่งทดสอบได้ดังนี้
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 1 |
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 2 |
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 3 |
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 4 |
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 5 |
| มีความแข็งตามหลักของโมห์ส | เป็น 6 |
| ||
| ||
CR: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัญมณี |
แร่ที่แข็งน้อยที่สุด
แร่ที่แข็งน้อยที่สุด
แร่ที่แข็งน้อยที่สุด
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 1
เป็น 1
เป็น 1
แร่ที่ใช้เล็บขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้เล็บขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้เล็บขูดเป็นรอยได้
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 2
เป็น 2
เป็น 2
แร่ที่ใช้ทองแดงขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้ทองแดงขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้ทองแดงขูดเป็นรอยได้
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 3
เป็น 3
เป็น 3
แร่ที่ใช้มีดหรือตะไบขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้มีดหรือตะไบขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้มีดหรือตะไบขูดเป็นรอยได้
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 4
เป็น 4
เป็น 4
แร่ที่ใช้กระจกขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้กระจกขูดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้กระจกขูดเป็นรอยได้
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 5
เป็น 5
เป็น 5
แร่ที่ใช้กระจกขีดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้กระจกขีดเป็นรอยได้
แร่ที่ใช้กระจกขีดเป็นรอยได้
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
มีความแข็งตามหลักของโมห์ส
เป็น 6
เป็น 6
เป็น 6
แร่ที่แข็งพอ ๆ กัน เมื่อนำมาขีดก็จะทำให้เกิดรอยได้เช่นเดียวกัน
แร่ที่แข็งพอ ๆ กัน เมื่อนำมาขีดก็จะทำให้เกิดรอยได้เช่นเดียวกัน
แร่ที่แข็งพอ ๆ กัน เมื่อนำมาขีดก็จะทำให้เกิดรอยได้เช่นเดียวกัน
แร่รัตนชาติต้องมีความแข็งไม่ต่ำไปกว่า 6
แร่รัตนชาติต้องมีความแข็งไม่ต่ำไปกว่า 6
แร่รัตนชาติต้องมีความแข็งไม่ต่ำไปกว่า 6
เพชรแข็งมากที่สุด
เพชรแข็งมากที่สุด
เพชรแข็งมากที่สุด
CR: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัญมณี
CR: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัญมณี
CR: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัญมณี